1.ข้อใดไม่ใช่ระบบปฏิบัติการที่นำมาใช้บนอุปกรณ์พกพา
ประเภท Smartphone.
1. Ubumtu 2. Iphone os
3. Android 4. Symbian
เฉลยข้อ 1
2.ไฟล์ประเภทใดในข้อต่อไปนี้เก็บข้อมูลในลักษณะตัวอักษร.
1. ไฟล์เพลง MP 3 (mp 3)
2. ไฟล์รูปประเภท JPEG (jpeg)
3. ไฟล์แสดงผลหน้าเว็บ (html)
4. ไฟล์วีดีโอประเภท Movie (movie)
เฉลยข้อ 3
3.ลิขสิทธิ์โปรแกรมประเภทรหัสเปิด(Open Source)อนุญาต
ให้ผู้ใช้ทำอะไรได้บ้าง.
ก. นำโปรแกรมมาใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์
ข. ทดลองใช้โปรแกรมก่อนถ้าพอใจจึงจ่ายค่าลิขสิทธิ์
ค. แก้ไขปรับปรุงโปรแกรมเองได้
1. ข้อ ก กับ ข้อ ค 2. ข้อ ข กับ ข้อ ค
3. ข้อ ข อย่างเดียว 4. ข้อ ก อย่างเดียว
เฉลยข้อ 4
4.ระบบกระดานสนทนาหรือเว็บบอร์ดแห่งหนึ่งมีความต้องการดังนี้
ก. ต้องให้ผู้ใช้สามารถตั้งกระทู้โต้ตอบกันได้โดยผู้ใช้
ต้องแสดงตัวตน(ล็อกอิน)เพื่อเข้าระบบก่อน
ข. ผู้ใช้สามารถตั้งกระทู้หรือเข้าไปตอบกระทู้ที่ตั้งไว้แล้วได้
ค. ระบบจะบันทึกชื่อผู้ตั้งและผู้ตอบไว้ด้วย
ในการออกแบบฐานข้อมูลดังกล่าวข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง.
1. ต้องสร้างตารางผู้ใช้ ตารางกระทู้และตารางคำตอบ
2. ไม่ต้องสร้างตารางผู้ใช้เนื่องจากสามารถบันทึกชื่อ
ผู้ใช้ในตารางกระทู้และตารางคำตอบได้เลย
3. ต้องสร้างตารางผู้ใช้และตารางกระทู้ส่วนคำตอบจะอยู่
ในตารางกระทู้อยู่แล้ว
4. ไม่ต้องสร้างตารางกระทู้เพราะสามารถบันทึกกระทู้ที่ผู้ใช้
ตั้งในตารางผู้ใช้ได้เลย
เฉลยข้อ 4
5.อุปกรณ์ข้อใดคือหน่วยประเมินผลกลางของคอมพิวเตอร์.
เฉลย CPU
6.ข้อใดเป้นการปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลักวิชาการเมื่อค้นคว้า
หาข้อมูลจากอินเทอร์เนตมาทำรายงาน.
1. คัดลอกเนื้อหาจากเว็บไซต์
2. ใช้เนื้อหาจากกระดานสนทนา(Web board)มาใส่ในรายงาน
3. นำรูปภาพจากเว็บไซต์มาใส่ในรายงาน
4. อ้างอิงชื่อผู้เขียนบทความ
เฉลยข้อ 4
5.ห้องสมุดแห่งหนึ่งต้องการพัมนาระบบยืมหนังสือโดยสามารถ
บันทึกข้อมูลการยืมหนังสือลงบนบัตรอิเลคโทรนิกส์โดยไม่ต้อง
เขียนด้วยมือระบบนี้ควรใช้เทคโนโลยีในข้อใด.
1. Smart Card 2. Fingerprint
3. Barcode 4. WiFi
เฉลยข้อ 3
6.ผู้ประกอบอาชีพเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ต้องเชี่ยวชาญความรู้
ด้านใดบ้างจากตัวเลือกต่อไปนี้.
ก. ฮาร์แวร์คอมพิวเตอร์ ข. ระบบปฎิบัติการ
ค. เว็บเซิร์ฟเวอร์ ง. HTML
จ. ระบบฐานข้อมูล ฉ. ภาษาจาวา(Java)
1. ข้อ ก และ ค 2. ข้อ ข และ จ
3. ข้อ ค และ ง 4. ข้อ ค และ ฉ
เฉลยข้อ 3
7.ข้อใดเป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่อข้อมูลไร้สายทั้งหมด.
1. Wi-Fi , IP 2. Wi-Fi ,Bluetooth
3. 3G ADSL 4. 3G Ethernet
เฉลยข้อ 2
8.ข้อใดไม่ใช่ข้อเสียของการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์.
1. การทำผิดกฏหมายลิขสิทธิ์มีความผิดทางอาญา
2. เป็นช่องทางหนึ่งในการระบาดของไวรัสคอมพิวเตอร์
3. ผู้ใช้จะไม่ได้รับการบริการจากผู้พัมนาถ้าหากมีปัญหาการใช้งาน
4. ทำให้ผู้พัมนาซอฟแวร์ไม่มีรายได้เพื่อประกอบการและพัฒนาต่อไปได้
เฉลยข้อ 2
9.ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด.
1. การบันทึกข้อมูลลงแผ่นดีวีดีใช้เทคโนโลยีแบบแม่เหล็ก
2. หมายเลขไอพีเป็นหมายเลขที่ใช้กำกับ Network Interce Card
3. หน่วยความจำสำรองเป็นหน่วยความจำที่มีคุณลักษณะแบบ Volntile
4. รหัส ACIIและEBCIDICเป็นการวางรหัสตัวอักษรที่ใช้ขนาด 8 บิด
เฉลยข้อ 3
ที่มา : https://krupaga.wordpress.com/2013/01/30/แบบทดสอบ-o-net-ม-6-คอมพิวเตอร์/
วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557
คำสั่ง SQL CONCAT
SQL CONCAT
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยทำการรวมข้อความเข้าด้วยกัน
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยทำการรวมฟิวด์ CustomerID,Name,Email
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยทำการรวมข้อความเข้าด้วยกัน
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT CONCAT(Culumn1,Culumn2,...) AS [New-Field] FROM [Table-Name]
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยทำการรวมฟิวด์ CustomerID,Name,Email
SELECT CustomerID,CONCAT(CustomerID,Name,Email) AS ConcatField FROM customer
Output
CustomerID
|
ConcatField
|
---|---|
C001
|
C001Win Weerachaiwin.weerachai@thaicreate.com
|
C002
|
C002John Smithjohn.smith@thaicreate.com
|
C003
|
C003Jame Bornjame.smith@thaicreate.com
|
C004
|
C004Chalee Angelchalee.angel@thaicreate.com
|
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-concat.html
คำสั่ง SQL NOT IN
SQL NOT IN
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยไม่เลือกเฉพาะค่าที่กำหนด
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ CustomerID = C002 และ C003
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยไม่เลือกเฉพาะค่าที่กำหนด
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column1, Column2, Column3,... FROM [Table-Name] WHERE [Field] NOT IN ('Value1','Value2')
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ CustomerID = C002 และ C003
SELECT * FROM customer WHERE CustomerID NOT IN ('C002','C003')
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-not-in.html
คำสั่ง SQL AVG
SQL AVG
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยหาค่าเฉลี่ยผลรวมของฟิวด์
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลค่าเฉลี่ยผลรวมของ Budget
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยหาค่าเฉลี่ยผลรวมของฟิวด์
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT AVG(Column/Field) AS [New-Field] FROM [Table-Name]
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลค่าเฉลี่ยผลรวมของ Budget
SELECT AVG(Budget) AS AvgBudget FROM customer
Output
AvgBudget
|
---|
2500000
|
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-avg.html
คำสั่ง SQL LEFT JOIN
SQL LEFT JOIN
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยเงื่อนไขการ LEFT JOIN จะทำการเลือกข้อมูลหลักและข้อมูลเชื่อมโยงที่สัมพันธ์กัน โดยจะทำการอิงจาก Table แรกสำคัญก่อน ถ้าไม่มีข้อมูลใน Table แรก ข้อมูล Table สองจะไม่ถูกสนใจและจะสนใจข้อมูลแค่ Table แรกเท่านั้น
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Table : audit
Sample1 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001
Output
Sample3 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001 และแสดงผลเฉพาะตาราง audit
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยเงื่อนไขการ LEFT JOIN จะทำการเลือกข้อมูลหลักและข้อมูลเชื่อมโยงที่สัมพันธ์กัน โดยจะทำการอิงจาก Table แรกสำคัญก่อน ถ้าไม่มีข้อมูลใน Table แรก ข้อมูล Table สองจะไม่ถูกสนใจและจะสนใจข้อมูลแค่ Table แรกเท่านั้น
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT [Table-Name1].Column1, [Table-Name2].Column1,... FROM [Table-Name1]
LEFT JOIN [Table-Name2] ON [Table-Name1].Column = [Table-Name2].Column
LEFT JOIN [Table-Name2] ON [Table-Name1].Column = [Table-Name2].Column
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
C006
| Superman Return | supermain.return@thaicreate.com |
US
| 2000000 | 0 |
Table : audit
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|
1
|
C001
|
2008-07-01
| 100000 |
2
|
C001
|
2008-07-05
| 200000 |
3
|
C001
|
2008-07-10
| 300000 |
4
|
C002
|
2008-07-02
| 400000 |
5
|
C002
|
2008-07-07
| 100000 |
6
|
C002
|
2008-07-15
| 300000 |
7
|
C003
|
2008-07-20
| 400000 |
8
|
C003
|
2008-07-25
| 200000 |
9
|
C004
|
2008-07-04
| 100000 |
10
|
C005
|
2008-07-04
| 200000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit
SELECT customer.*,audit.* FROM customer
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
4
|
C002
|
2008-08-02
| 400000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
5
|
C002
|
2008-08-07
| 100000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
6
|
C002
|
2008-08-15
| 300000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
7
|
C003
|
2008-08-20
| 400000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
8
|
C003
|
2008-08-25
| 200000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
9
|
C004
|
2008-07-04
| 100000 |
C006
| Superman Return | supermain.return@thaicreate.com |
US
| 2000000 | 0 |
NULL
|
NULL
|
NULL
|
NULL
|
Sample2 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001
SELECT customer.*,audit.* FROM customer
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID = 'C001'
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID = 'C001'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
Sample3 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001 และแสดงผลเฉพาะตาราง audit
SELECT audit.* FROM customer
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID = 'C001'
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID = 'C001'
Output
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-left-join.html
คำสั่ง SQL INSERT INTO...SET
SQL INSERT INTO...SET
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเพิ่มข้อมูลลงในตาราง (Table) โดยเป็น Syntax ของ MySQL ที่สามารถกำหนดตำแหน่งของ Column และ Value รูปแบบนี้ง่ายต่อการตรวจสอบ
Database : MySQL
Syntax
Table : country
Sample1 การเพิ่มข้อมูลลงใน Table
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเพิ่มข้อมูลลงในตาราง (Table) โดยเป็น Syntax ของ MySQL ที่สามารถกำหนดตำแหน่งของ Column และ Value รูปแบบนี้ง่ายต่อการตรวจสอบ
Database : MySQL
Syntax
INSERT INTO [Table-Name] SET Column1 = 'Value1' , Column2 = 'Value2' , ...
Table : country
CountryCode
|
CountryName
|
---|---|
TH
| Thailand |
EN
| English |
US
| United states |
Sample1 การเพิ่มข้อมูลลงใน Table
INSERT INTO country SET CountryCode =''CH'' ,CountryName = 'Chaina'
Output
CountryCode
|
CountryName
|
---|---|
TH
| Thailand |
EN
| English |
US
| United states |
CH
| Chaina |
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-insert-into-set.html
คำสั่ง SQL UPDATE
SQL UPDATE
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแก้ไขข้อมูลในตาราง (Table) โดยสามารถทำการแก้ไขได้หลายฟิวด์และหลาย Record ภายในคำสั่ง 1 คำสั่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ Where ที่ผู้ใช้ได้เขียนขึ้น
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : country
Sample1 การแก้ไขข้อมูลลงใน Table
Output
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-update.html
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแก้ไขข้อมูลในตาราง (Table) โดยสามารถทำการแก้ไขได้หลายฟิวด์และหลาย Record ภายในคำสั่ง 1 คำสั่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ Where ที่ผู้ใช้ได้เขียนขึ้น
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
UPDATE [Table-Name] SET Column1='Value1',Column2='Value2',... WHERE clause
Table : country
CountryCode
|
CountryName
|
---|---|
TH
| Thailand |
EN
| English |
US
| United states |
CH
| Chaina |
Sample1 การแก้ไขข้อมูลลงใน Table
UPDATE country SET CountryCode = 'JP',CountryName='Japan' WHERE CountryCode = 'CH'
Output
CountryCode
|
CountryName
|
---|---|
TH
| Thailand |
EN
| English |
US
| United states |
JP
| Japan |
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-update.html
คำสั่ง SQL ORDER BY
SQL ORDER BY
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยจัดเรียงข้อมูลตามต้องการ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยทำการจัดเรียงจาก CustomerID น้อยไปหามาก หรือ มากไปหาน้อย
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยจัดเรียงข้อมูลตามต้องการ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Culumn1,Culumn2,Culumn3,... FROM [Table-Name] ORDER BY [Field] [ASC/DESC],[Field] [ASC/DESC],...
ASC = น้อยไปหามาก
DESC = มากไปหาน้อย
ASC = น้อยไปหามาก
DESC = มากไปหาน้อย
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยทำการจัดเรียงจาก CustomerID น้อยไปหามาก หรือ มากไปหาน้อย
SELECT * FROM customer ORDER BY CustomerID ASC
หรือ
SELECT * FROM customer ORDER BY CustomerID DESC
หรือ
SELECT * FROM customer ORDER BY CountryCode DESC,CustomerID ASC
หรือ
SELECT * FROM customer ORDER BY CustomerID DESC
หรือ
SELECT * FROM customer ORDER BY CountryCode DESC,CustomerID ASC
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-sort-order-by-asc-desc.html
คำสั่ง SQL ALIAS
SQL ALIAS
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดย ALIAS คือการสร้างชื่อจำลองขึ้นมาใหม่ โดยสามารถจำลองชื่อได้ทั้งชื่อ Field และชื่อ Table
Database : MySQL
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลตาราง customer โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อฟิวด์ขึ้นมาใหม่
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลตาราง customer,audit โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อ Table เพื่อง่านต่อการเรียกใช้งาน
Output
Sample3 การเลือกข้อมูลตาราง customer โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อ Table เพื่อง่านต่อการเรียกใช้งาน
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดย ALIAS คือการสร้างชื่อจำลองขึ้นมาใหม่ โดยสามารถจำลองชื่อได้ทั้งชื่อ Field และชื่อ Table
Database : MySQL
Syntax
SELECT Column1 AS Alias1,Column2 AS Alias2,Column3 AS Alias3,... FROM [Table-Name1] Table Alias
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลตาราง customer โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อฟิวด์ขึ้นมาใหม่
SELECT CustomerID AS CusID,Name AS CusName,Email AS CusEmail FROM customer
Output
CusID
|
CusName
|
CusEmail
|
---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
Sample2 การเลือกข้อมูลตาราง customer,audit โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อ Table เพื่อง่านต่อการเรียกใช้งาน
SELECT X.*,Y.* FROM customer X
LEFT JOIN audit Y ON X.CustomerID = Y.CustomerID
WHERE X.CustomerID = 'C001'
LEFT JOIN audit Y ON X.CustomerID = Y.CustomerID
WHERE X.CustomerID = 'C001'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
Sample3 การเลือกข้อมูลตาราง customer โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อ Table เพื่อง่านต่อการเรียกใช้งาน
SELECT X.CustomerID,X.Name FROM customer X
Output
CusID
|
CusName
|
---|---|
C001
| Win Weerachai |
C002
| John Smith |
C003
| Jame Born |
C004
| Chalee Angel |
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-alias.html
คำสั่ง SQL SELECT
SQL SELECT
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการเรียกดูข้อมูลในตาราง (Table) คำสั่ง SQL SELECT สามารถเรียกได้ทั้งตาราง หรือว่า สามารถระบุฟิวด์ที่ต้องการเรียกดูข้อมูลได้
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ระบุฟิวด์
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลทั้งหมดของ Table
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการเรียกดูข้อมูลในตาราง (Table) คำสั่ง SQL SELECT สามารถเรียกได้ทั้งตาราง หรือว่า สามารถระบุฟิวด์ที่ต้องการเรียกดูข้อมูลได้
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column1, Column2, Column3,... FROM [Table-Name]
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ระบุฟิวด์
SELECT CustomerID, Name, Email FROM customer
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
Sample2 การเลือกข้อมูลทั้งหมดของ Table
SELECT * FROM customer
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-select.html
คำสั่ง SQL SUBSTRING
SQL SUBSTRING
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยทำการตัดข้อความในตำแหน่งที่ต้องการ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยทำการตัดตำแหน่งที่ 1 ถึง 3
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลโดยทำการตัดตำแหน่งจากสุดท้ายไปทางซ้าย 3 หลัก และเริ่มนับไปทางขวาอีก 3 หลัก
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยทำการตัดข้อความในตำแหน่งที่ต้องการ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT SUBSTR(Name,0,2) As MySubStr FROM customer
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยทำการตัดตำแหน่งที่ 1 ถึง 3
SELECT SUBSTR(Name,1,3) AS MySubStr FROM customer
Output
MySubStr
|
---|
Win
|
Joh
|
Jam
|
Cha
|
Sample2 การเลือกข้อมูลโดยทำการตัดตำแหน่งจากสุดท้ายไปทางซ้าย 3 หลัก และเริ่มนับไปทางขวาอีก 3 หลัก
SELECT SUBSTR(Name,-3,3) AS MySubStr FROM customer
Output
MySubStr
|
---|
hai
|
ith
|
orn
|
gel
|
ที่มา : http://www.thaicreate.com/tutorial/sql-substring.html
วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
การเขียน Function ใน PHP
ในการเขียนโปรแกรม การทำงานซ้ำ ๆ หลาย ๆ ครั้ง ถือเป็นเรื่องปกติในการเขียน ซึ่งการจะใช้โค้ดเดียวกันซ้ำ ๆ กันนั้น ส่วนมากเค้าไม่เขียนซ้ำ ๆ กันบ่อย ๆ แต่จะเขียนฟังก์ชันการทำงานขึ้นมา แล้วเวลาต้องการใช้ซ้ำ ๆ กัน ก็เพียงแค่เรียกชื่อฟังก์ชันขึ้นมาก็ถือว่าเป็นอันสิ้นสุด ดังนั้น ในบทความนี้ เรามาดูฟังก์ชันในภาษา PHP กัน
ฟังก์ชันใน PHP มีอยู่ 2 แบบ นั่นคือ ฟังก์ชันมาตรฐาน (Built-In Function) ซึ่งเป็นฟังก์ชันที่ภาษา PHP มีให้อยู่แล้วสามารถเรียกใช้ได้เลย เช่น ฟังก์ชัน Date, sort เป็นต้น และฟังก์ชันอีกแบบคือ ฟังก์ชันแบบที่เราสร้างขึ้นเอง (User-Defined Function: UDF) ฟังก์ชันที่เราสร้างเองเป็นยังไง และสร้างยังไง มาดูกัน
เรามาดู Syntax ของการสร้างฟังก์ชันกันก่อน ตามด้านล่างเลยคะ
วิธีการตั้งชื่อฟังก์ชัน
ชื่อของฟังก์ชันควรสื่อความหมายที่ฟังก์ชันทำงาน
ชื่อของฟังก์ชันต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือขีดล่างเท่านั้น
ต่อไปมาดูตัวอย่างการสร้างและการเรียกใช้กันคะ
ฟังก์ชันใน PHP มีอยู่ 2 แบบ นั่นคือ ฟังก์ชันมาตรฐาน (Built-In Function) ซึ่งเป็นฟังก์ชันที่ภาษา PHP มีให้อยู่แล้วสามารถเรียกใช้ได้เลย เช่น ฟังก์ชัน Date, sort เป็นต้น และฟังก์ชันอีกแบบคือ ฟังก์ชันแบบที่เราสร้างขึ้นเอง (User-Defined Function: UDF) ฟังก์ชันที่เราสร้างเองเป็นยังไง และสร้างยังไง มาดูกัน
เรามาดู Syntax ของการสร้างฟังก์ชันกันก่อน ตามด้านล่างเลยคะ
วิธีการตั้งชื่อฟังก์ชัน
ชื่อของฟังก์ชันควรสื่อความหมายที่ฟังก์ชันทำงาน
ชื่อของฟังก์ชันต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือขีดล่างเท่านั้น
ต่อไปมาดูตัวอย่างการสร้างและการเรียกใช้กันคะ
ตัวอย่างการเขียนฟังก์ชัน ตัวอย่างแรก
Output ที่ได้คือ
สวัสดีครับ นี่เป็นการทดสอบการเขียนฟังก์ชัน PHP จาก www.doesystem.com
ฟังก์ชันนี้ชื่อ helloDoesystem เวลาต้องการเรียกใช้ ก็แค่เรียกชื่อฟังก์ชัน
ตัวอย่างการเขียนฟังก์ชัน ตัวอย่างที่ 2
Output ที่ได้คือ
สวัสดีครับ คุณ Somchaiสวัสดีครับ คุณ SomYing
สวัสดีครับ คุณ Sompong
ฟังก์ชันนี้ชื่อ helloName เวลาต้องการเรียกใช้ ก็แค่เรียกชื่อฟังก์ชันแล้วตามด้วยพารามิเตอร์ name ที่ต้องการให้แสดงออก
ตัวอย่างการเขียนฟังก์ชัน ตัวอย่างที่ 3
Output ที่ได้คือ
สวัสดีครับ คุณ นารัตน์ พัดลมโชย
สวัสดีครับ คุณ หรูหรา ออมตง
สวัสดีครับ คุณ นางหวด สวามิพัก
สวัสดีครับ คุณ นารัตน์ พัดลมโชย
สวัสดีครับ คุณ หรูหรา ออมตง
สวัสดีครับ คุณ นางหวด สวามิพัก
ฟังก์ชันนี้ชื่อ helloName เวลาต้องการเรียกใช้ ก็แค่เรียกชื่อฟังก์ชันแล้วตามด้วยพารามิเตอร์ name กับ lastname ที่ต้องการให้แสดงออก
ตัวอย่างการเขียนฟังก์ชัน ตัวอย่างที่ 4
5 5 + 2 = 7 ฟังก์ชันนี้ชื่อ add เป็นฟังก์ชันบวกเลขสองตัว เวลาต้องการเรียกใช้ ก็แค่เรียกชื่อฟังก์ชันแล้วตามด้วยพารามิเตอร์ x กับ y ที่ต้องการบวกกัน เวลาต้องการแสดงก็สั่ง echo ด้วยเพราะว่า ในฟังก์ชัน return ค่าออกมา
วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
วิธีสร้างฐานข้อมูล Mysql
วิธีสร้างฐานข้อมูล Mysql
จะยกตัวอย่างการสร้างฐานข้อมูลโดยการใช้ phpMyAdmin หลังจากติดตั้ง Appserv นะ
ขั้นตอนที่ 1 เปิดเว็บบราวเซอร์ แล้วเข้าไปที่ http://localhost/ หรือ 127.0.0.1 ดังรูปที่ 1 ภาพหน้าแรกของ Appserv
รูปที่ 1 หน้าแรก Appserv
ขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 2 คลิกที่ phpMyAdmin Database Manager Version 2.10.3 แล้วจะเจอ popup ให้ใส่ username และ password ดังรูปที่ 2
ให้ใส่ username กับ pass ที่ท่านได้กำหนดตอนติดตั้งโปรแกรมนะ เสร็จแล้วเลือกภาษาให้เป็นภาษาไทยด้วยนะ สำหรับบางท่านที่เป็นภาษาอังกฤษ โดยเลือกที่ช่อง เลือกภาษา ตามตัวอย่างรูปที่ 3
ภาพที่ 2 popup username password
ให้ใส่ username กับ pass ที่ท่านได้กำหนดตอนติดตั้งโปรแกรมนะ เสร็จแล้วเลือกภาษาให้เป็นภาษาไทยด้วยนะ สำหรับบางท่านที่เป็นภาษาอังกฤษ โดยเลือกที่ช่อง เลือกภาษา ตามตัวอย่างรูปที่ 3
รูปที่ 3 อธิบายหน้าแรกของ phpMyAdmin
ขั้นตอนที่ 3
ขั้นตอนที่ 3 จากนั้นกรอกชื่อฐานข้อมูลต้องการที่ช่อง "สร้างฐานข้อมูลใหม่" แล้วกดปุ่ม "สร้าง" ดังรูปที่ 3
รูปภาพที่ 3 สร้างฐานข้อมูล
จากนั้นก็จะมาขั้นตอนการสร้างตารางของฐานข้อมูล โดยการ ใส่ชื่อตารางที่ช่อง "สร้างตารางในฐานข้อมูลนี้" และกำหนดจำนวน fields ที่ท่านต้องการ สำหรับตัวอย่างนี้ จะสร้างตารางเก็บประวัิติลูกค้า โดย จะใช้ชื่อตารางว่าcustomer และมีจำนวน fields 5 fields
รูปภาพที่ 4 แสดงสร้างตาราง โดยกำหนด ชื่อ และ จำนวน fields
รูปภาพที่ 4 แสดงสร้างตาราง โดยกำหนด ชื่อ และ จำนวน fields
ขั้นตอนที่ 4
ขั้นตอนที่ 4 หลังจากที่กำหนดชื่อตารางและกำหนด fields เสร็จแล้ว ก็จะเข้าสู่หน้าจอการกำหนด คุณสมบัติของ fields โดยจะยกตัวอย่างการสร้าง fields ดังต่อไปนี้
1. รหัส (id)
2. ชื่อ (name)
3. นามสกุล (surname)
4. ที่อยู่ (address)
5. เบอร์โทรศัพท (phone)
เราก็จะได้ฐานข้อมูล ที่ชื่อ test_create_database และมีตารางชื่อ customer พร้อมใช้งานแล้ว
1. รหัส (id)
2. ชื่อ (name)
3. นามสกุล (surname)
4. ที่อยู่ (address)
5. เบอร์โทรศัพท (phone)
ซึ่งเราจะต้องกำหนดชนิดของตัวแปรในส่วนนี้ด้วย
ชนิดของข้อมูลที่สนับสนุน
ชนิดข้อมูลที่ MySQL สนับสนุนแบ่งเป็นสามประเภทหลักใหญ่ๆ
- ชนิดข้อมูลที่เป็นตัวเลข
- BIT (มีใช้ได้กับ MyISAM, InnoDB, Memory)
- TINYINT
- SMALLINT
- MEDIUMINT
- INT
- BIGINT
- ชนิดข้อมูลที่เกี่ยวกับวันที่และเวลา
- DATETIME
- DATE
- TIMESTAMP
- TIME
- YEAR
- ชนิดข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวอักษร
- CHAR
- VARCHAR
- BINARY
- VARBINARY
- BLOB
- TEXT
- ENUM
- SET
รูปภาพที่ 4 ภาพแสดงการกำหนด fields และคุณสมบัติต่างๆของฐานข้อมูล ตาราง customer
กำหนด ให้ รหัส (id) เป็น primary key และกำหนดให้เป็น auto_increment (สร้างรหัสอัตโนมัติ)โดยการคลิกเลือก ตามตัวอย่าง รูปภาพที่ 5
รูปภาพที่ 5 กำหนด primary key และกำหนดให้เป็น auto_increment
เมื่อกำหนดค่าต่างๆของฐานข้อมูลตาราง customer กดปุ่ม "บันทึก" หรือ ถ้าหากต้องการเพิ่ม field ก็สามารถ กดที่ "ลงมือ" ดังภาพที่ 6
รูปภาพที่ 6 บันทึกหรือเพิ่ม field ใหม่
เราก็จะได้ฐานข้อมูล ที่ชื่อ test_create_database และมีตารางชื่อ customer พร้อมใช้งานแล้ว
รูปภาพที่ 7 ตาราง customer
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)